วันพุธที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

ชีวิตนี้มีปัญหา ไขปัญหาชีวิต ๑๐๘ หลักปฏิบัติขั้นต้น ที่ชาวพุทธควรทราบ

ชีวิตนี้มีปัญหา ไขปัญหาชีวิต ๑๐๘ หลักปฏิบัติขั้นต้น ที่ชาวพุทธควรทราบ

ความรัก ๑๐ มิติ


ความรัก ๑๐ มิติ

ประวัติ สมณะโพธิรักษ์

ประวัติ สมณะโพธิรักษ์

อัตตาภวตัณหาลึกๆ

อัตตาภวตัณหาลึกๆ

ความลึกของธรรมในธรรม

ความลึกของธรรมในธรรม

ความไม่เที่ยง ที่เที่ยงคืออะไร

ความไม่เที่ยง ที่เที่ยงคืออะไร

เศรษฐศาสตร์บุญนิยม


เศรษฐศาสตร์บุญนิยม (หมายเลข ๑) 
๑. ไม่เป็นหนี้๒. ทำกินทำใช้ให้พึ่งตนเองได้ 
๓. ทำให้เหลือกินเหลือใช้ 
๔. แจกจ่ายสะพัดออก เผื่อแผ่แก่ผู้อื่น
เศรษฐศาสตร์บุญนิยม (หมายเลข ๒) 
๑. เรากินใช้ไม่มาก มักน้อยสันโดษ
๒. เราสร้างสรรขยันเพียร
๓. คุ้มกินคุ้มใช้ เหลือกินเหลือใช้ 
๔. เราไม่สะสมกักตุน
๕. เราสะพัดออก แจกจ่ายเจือจาน
 สมณะโพธิรักษ์ 
  ๒๒ เม.ย. ๕๖

สังคมไทยวิกฤติ เพราะการศึกษาที่ผิดพลาด

อย่ารอให้ สายเสียแล้ว


ความฉลาดทำไมทำลายชาติได้?

                              ความฉลาดทำไมทำลายชาติได้? 
                              (๑) หนึ่งชีพผ่านชาติแล้ว       รู้ไหม
                              ได้อะไรสะสมใน                  วิบากบ้าง
                              อริยะขยะใด                         ฉลาดแยก ไฉนฤา      
                              หรือ “ฉลาด”ได้แต่ข้าง        “เฉก”ไร้”ปัญญา”
                              (๒) “ฉฬายตนะ”แล้            คือคำ
                              ไทยพูดบาลีสำ-                   เร็จไซร้          
                              เป็น“ฉลาด”แต่ดึกดำ-         บรรพชาติ มาแล
                              รวบคำบาลีให้                   ง่ายสั้น”ฉลาด”ดี
                              (๓) “ฉลาด”ชี้ว่า“รู้”           สามัญ
                              “ฉลาด”ชั่วดีต่างกัน            ไป่แจ้ง
                              เพิ่ม“ฉลาด”ภาษสำคัญ      ไทยวิวัฒ- นาแฮ
                              กิเลสสั่งก็ยังแสร้ง                แข่งรู้แสวงหา
                              (๔) ศาสดาพุทธตรัสรู้        ธรรมา
                              ฉฬายตนะพา                     “ฉลาด”แล้
                              สัมผัสหกทวารา                ปฏิบัติ
                              จึง“ฉลาด”เป็นปราชญ์แท้  ทุกข์ร้ายดับสูญ         
                              (๕) บูรพ์บาลีศัพท์“รู้”       “เฉกา” 
                              แตกต่างจาก“ปัญญา”          แยกไว้
                              “เฉกา”เก่งกิเลสพา              รู้ยิ่ง ตลอดเลย  
                              ส่วนกิจ“ปัญญา”ไซร้          ฉลาดไร้กิเลสปน
                              (๖) คน“สัมผัสหก”ได้        ศึกษา           
                              “อายตนะหก”พา                รอบรู้             
                              จึ่งชื่อว่า“ปัญญา”                คือ“ฉลาด” จริงเอย
                              ต่างจาก“เฉกา”ผู้                 ฉลาดด้วยอกุศล
                              (๗) คนฉลาดสูงส่งด้วย       “เฉกา”
                              ทำลายชาติเพราะ“ปัญญา”  ไม่แท้                     
                              ช่วยชาติแต่“ฉลาด”พา        ทุกข์ทั่ว ไทยเฮย
                              การศึกษาต้องแก้                 “ฉลาด”ให้เป็นธรรม.        
  
                                                            “สไมย์ จำปาแพง”                               
                                                                      ๔ ต.ค. ๒๕๕๖
                    [นัยปก “เราคิดอะไร” ฉบับ ๒๘๐ ประจำเดือน พฤศจิกายน ๒๕๕๖]     
 

สยามเทวาธิราชิทธิ

            สยามเทวาธิราชิทธิ
            กษัตริย์ไทยองค์ที่แท้  ทรงธรรม
เทินพระสฤษฏ์กรรม              ผ่านเผ้า
ครองธรรมพิชิตสำ-               เร็จราช กิจแล
ชนสยามกรานกราบเกล้า      จรดเบื้องบาทยุคล
            ชนไทยทุกถิ่นถ้วน      รำลึก
ทิวะประสูติสำนึก                   ธ ไท้
วันเฉลิมพระชนม์ตรึก            ชนตริ ตลอดแฮ
ว่าพระวรคุณไซร้                    เทิดไท้นิรันดร์นาม
            สยามเทวาธิราชนั้น   เหนือไท
วิศิษฐ์วิเศษสมัย                    วิสุทธิ์ล้ำ
เปรียบปราชญ์แห่งราชใด      เสมอสุด แล้วเอย
พระสถิตไทยอยู่ค้ำ               คู่ฟ้าดินสลาย
            นิมิตหมายมิต้อง      เสริมกิดา การเลย
ล้นหลากพระทรงมา             สุดแล้ว
องค์เองราชกิจหา                  ใดเปรียบ
พระมิต้องพร้องแผ้ว             ผ่องพ้นคนเห็น
            ทุกข์เข็ญใดผ่านด้วย   พระบารมี
ที่สุดแห่งกาลกลี                    สุดร้าย
เทวธิราชแห่งสยามจี-            รกิจ เถิดเทอญ
ช่วยสยามพ้นให้คล้าย           แต่กี้บุพพกาล
            อธิษฐานแต่จิตล้วน   บริสุทธิ์
ทำสุดดี สุทธิดุจ                     จิตพระเจ้า
ร้ายใดอย่าเหลือผุด               เกิดแก่ ไทยเลย
เทวธิราชแห่งสยามเฝ้า           ปกป้องปวงไทย
            ถวายไท้ทุกเลือดเนื้อ   วิญญาณ
ทูลเทิดศิรกราน                     สุดเกล้า
โปรดเถิดช่วยลูกหลาน          คืนสุข
บารมีพระผ่านเผ้า                 จรดฟ้าคลุมดิน


            ข้าพระพุทธเจ้า น.ส.พ.เราคิดอะไร
                  (สไมย์ จำปาแพง ประพันธ์)
                             ๑ พ.ย. ๒๕๕๖

Ebook ชาวอโศก 2

เจริญชีพด้วยการก้าว

เดินตรงเข้าสู่การเป็นพระอริยะ

ป่ากับศาสนาพุทธ

พอเพียงแบบพุทธ

การลอกคราบเป็นการเมืองใหม่

วิถีธรรมในสังคมการเมืองใหม่

การเมืองตามประสาโพธิรักษ์

รหัสกรรม

สมาธิพุทธ

สัจจะชีวิตของสมณะโพธิรักษ์ ภาค 2

ทางเอก ภาค ๓

ทางเอก ภาค ๓ คำนำ

ทางเอก ภาค ๓ บทที่ ๒๑

ทางเอก ภาค ๓ บทที่ ๒๒

ทางเอก ภาค ๓ บทที่ ๒๓

ทางเอก ภาค ๓ บทที่ ๒๔

ทางเอก ภาค ๓ บทที่ ๒๕

ทางเอก ภาค ๓ บทที่ ๒๖

ทางเอก ภาค ๓ บทที่ ๒๗

ทางเอก ภาค ๒

ทางเอก ภาค ๒ ปก และคำนำ ๑

ทางเอก ภาค ๒ คำนำ ๒

ทางเอก ภาค ๒ คำนำ ๓

ทางเอก ภาค ๒ บทที่ ๑๐

ทางเอก ภาค ๒ บทที่ ๑๑

ทางเอก ภาค ๒ บทที่ ๑๒

ทางเอก ภาค ๒ บทที่ ๑๓

ทางเอก ภาค ๒ บทที่ ๑๔

ทางเอก ภาค ๒ บทที่ ๑๕

ทางเอก ภาค ๒ บทที่ ๑๖

ทางเอก ภาค ๒ บทที่ ๑๗

ทางเอก ภาค ๒ บทที่ ๑๘

ทางเอก ภาค ๒ บทที่ ๑๙

ทางเอก ภาค ๒ บทที่ ๒๐

Ebook ชาวอโศก 1

ธรรมพุทธสุดลึก

รู้คนขังสุขรู้คุกขังสัตว์

ธรรมที่เป็นพุทธ

พุทธเทวนิยมหรือพุทธอเทวนิยม

มรรคาปรมัตถ์

อนุบุพพิกถา

บุญบาปที่เห็นได้ในชาตินี้

ฆ่ามันด้วยมือเรา

ทุจริตของคนดี

ธรรมอันพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงสอน

ตอบฝรั่งเรื่องสังคมพุทธ เล่ม1

ตอบฝรั่งเรื่องสังคมพุทธ เล่ม2

สรรค่าสร้างคน

ยุทธวิธี 8 ขั้นแห่งการเป็นผู้พิชิต

ไตรลักษณ์ไตรรัตน์ไตรสิกขา

ทางเอก ภาค ๑

ทางเอก ภาค ๑ คำนำ

ทางเอก ภาค๑ บทที่ ๑

ทางเอก ภาค ๑ บทที่ ๒

ทางเอก ภาค ๑ บทที่ ๓

ทางเอก ภาค ๑ บทที่ ๔

ทางเอก ภาค ๑ บทที่ ๕

ทางเอก ภาค ๑ บทที่ ๖

ทางเอก ภาค ๑ บทที่ ๗

ทางเอก ภาค ๑ บทที่ ๘

ทางเอก ภาค ๑ บทที่ ๙